วันจันทร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2557

Profile:P

Profile

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ : เด็กหญิงมัฌชิตา  โสพิกุล
ชื่อเล่น : มะปราง
อายุ : 14 ปี
กรุ๊ปเลือด : A
สัญชาติไทย
ศาสนาพุทธ
ศึกษาที่ : โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา
ที่อยู่ 126 ม. 4 ต. ท่าอุแท  อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี (ศูนย์วิจัยปาล์มน้ำมันสุราษฎร์ธานี)
Email. : mprang_g@hotmail.com
Gmail :  machitamp@gmail.com
สีที่ชอบ : สีเเดง
ขนมที่ชอบ : ช็อกโกแล็ต อมยิ้ม
Cartoon :MIKE WAZOWSKI

น้ำเน่าเสีย


กลุ่มที่ 5 ปัญหาน้ำเน่าเสีย

รายชื่อสมาชิก

ด.ญ.มนัชนก วรสุนทรารมณ์ เลขที่32
ด.ญ.มัฌชิตา โสพิกุล เลขที่33
ด.ญ.ลักขณา โตนิติ เลขที่34
ด.ญ.สุชาวดี นาควรรณ เลขที่35


รายละเอียดข้อมูลที่ศึกษา

สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหามลภาวะแก่แม่น้ำคลอง
1. น้ำเสียจากบ้าน ร้านค้าและอาคารที่ทำการ
2. น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
3. ปุ๋ยที่ใช้ในการเกษตร
4. ผิวดินที่พังทลาย
5. การเลี้ยงปศุสัตว์
6. ยาฆ่าแมลงและยากำจัดวัชพืช
7. ไฟป่า

          การรวบรวมข้อมูล:สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต
วิธีการแก้ปัญหา
การบำบัดน้ำเสียขั้นเตรียมการ (Pretreatment) 
       -การดักด้วยตะแกรง เป็นการกำจัดของแข็งขนาดใหญ่โดยใช้ตะแกรง โดยใช้ ตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอียด
-การบดตัดเป็นการลดขนาดหรือปริมาตรของแข็งให้เล็กลง ใช้เครื่องบดตัดให้ละเอียด ก่อนแยกออกด้วยการตกตะกอน
-การดักกรวดทราย เป็นการกำจัดพวกกรวดทรายทำให้ตกตะกอนในรางดักกรวดทราย โดยการลดความเร็วน้ำลง
-การกำจัดไขมันและน้ำมันเป็นการกำจัดไขมันและน้ำมันซึ่งมักอยู่ในน้ำเสียที่มาจากครัว โรงอาหาร ห้องน้ำ ปั๊มน้ำมัน และโรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดโดยการกักน้ำเสียไว้ในบ่อดักไขมันในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้น้ำมันและไขมันลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำแล้วใช้เครื่องตักหรือกวาดออกจากบ่อ 


การบำบัดน้ำเสียขั้นที่สอง (Secondary Treatment)
โดยทั่วไปมักจะเรียกการบำบัด ขั้นที่สองนี้ว่า "การบำบัดน้ำเสียด้วยขบวนการทางชีววิทยา" เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ต้องอาศัยจุลินทรีย์ในการย่อยสลาย หรือทำลายความสกปรกในน้ำเสีย การบำบัดน้ำเสียในปัจจุบันนื้อย่างน้อยจะต้องบำบัดถึงขั้นที่สองนี้ เพื่อให้น้ำเสียที่ผ่าน การบำบัดแล้วมีคุณภาพมาตรฐานน้ำทิ้งที่ทางราชการกำหนดไว้ 
การบำบัดน้ำเสียขั้นสูง (Advanced Treatment) 
เป็นการบำบัดน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดในขั้นที่สองมาแล้ว เพื่อกำจัดสิ่งสกปรกบางอย่างที่ยังเหลืออยู่ เช่น โลหะหนัก หรือเชื้อโรคบางชนิดก่อนจะระบายน้ำทิ้งลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะการบำบัดขั้นนี้มักไม่นิยมปฏิบัติกัน เนื่องจากมีขั้นตอนที่ยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่ายสูง
     สรุปประโยชน์ที่ได้จาการศึกษาและการนำไปใช้
ทำให้เราได้ทราบสาเหตุที่ทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย
ทราบวิธีที่บำบัดน้ำเสีย
นำข้อมูลที่ทราบไปบอกกับผู้คนในชุมชน เพื่อให้ปฏิบัติตามอย่างถูกต้องเกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย
รักษาธรรมชาติ
เพื่อป้องกันมิให้สัตว์น้ำเน่าตายจากสาเหตุน้ำเสีย
เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีให้ผู้คนในชุมชนรับผิดชอบ และดูแลธรรมชาติมากยิ่งขึ้น



แหล่งอ้างอิงข้อมูลที่น่าเชื่อถือ